ReadyPlanet.com
dot
dot
สมุนไพรยุคใหม่
dot
bulletผลวิจัยสมุนไพรยุคใหม่
bulletผลวิจัยสมุนไพรต้านมะเร็ง
dot
ภาพสมุนไพรและสรรพคุณ
dot
bulletภาพสมุนไพร และสรรพคุณ จำนวน 712 ชนิด ( ชมภาพขนาด 500 X 375 Px)
dot
ประสบการณ์ ผู้ใช้สมุนไพร
dot
bulletประสบการณ์ที่ 1
bulletประสบการณ์ที่ 2
bulletประสบการณ์ที่ 3
dot
ข้อแนะนำในการใช้ยาสมุนไพรและยาแผนปัจุบัน
dot
bulletการใช้ยาสมุนไพรและยาแผนปัจจุบัน
dot
สรรพคุณสมุนไพร แก้โรคต่างๆ 42 โรค
dot
bullet แก้ไข้
bulletแก้ตกโลหิต/ห้ามเลือด
bulletแก้ตับทรุด ม้ามย้อย
bulletแก้ตานซาง
bulletท้องร่วง แก้บิด
bulletแก้นำเหลืองเสีย
bulletแก้ประดง
bulletแก้พิษเบื่อเมา
bulletแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
bulletแก้พิษอักเสบ
bulletแก้ริดสีดวงทวาร
bulletแก้โรคตา
bulletแก้โรคผิวหนัง
bulletแก้โรคฟัน
bulletแก้โรคหู
bulletแก้สะอึก
bulletแก้เสมหะ ( คูถเสมหะ)
bulletแก้เสมหะ (ศอเสมหะ)
bulletแก้เสมหะ (อุระเสมหะ)
bulletแก้อักเสบ ฝี หนอง มะเร็ง
bulletแก้อาเจียน
bulletแก้ไอ ขับเสมหะ
bulletแก้ไอ หรืออาเจียนเป็นโลหิต
bulletขับปัสสาวะ และนิ่ว
bulletขับพยาธิ์ลำไส้
bulletขับลมในลำไส้ (บำรุงธาตุ)
bulletขับโลหิตระดู
bulletขับเหงื่อ
bulletเจริญอาหาร
bulletทำให้ถ่ายอย่างแรง
bulletทำให้ระบายท้อง
bulletทำให้อาเจียน
bulletบำรุงครรภ์รักษา
bulletบำรุงนำดี
bulletบำรุงนำนม/ขับนำนม
bulletบำรุงประสาท
bulletบำรุงปอด
bulletบำรุงโลหิต
bulletบำรุงเส้นเอ็น
bulletบำรุงหัวใจ
bulletฟอกโลหิตระดู
bulletอายุวัฒนะ
dot
การใช้สมุนไพร ยามเจ็บป่วย
dot
bulletอาการไข้ ตัวร้อน
bulletอาการไอ
bulletกลิ่นปาก และ แผลในปาก
bulletปวดฟัน
bulletปวดเจ็บท้อง จุกแน่น หรือแสบแน่นท้อง
bulletท้องเสีย ท้องเดิน
bulletท้องผูก
bulletอาเจียน
bulletผดผื่นคัน โรคผิวหนัง
bulletแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
bulletแผลอักเสบ สิว หนอง
bulletปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ
dot
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ
dot
bulletยาสามัญประจำบ้าน 27 ขนาน ตามประกาศกระทรวง
dot
สูตรยาสมุนไพรโบราณ รักษาโรค 200 สูตร
dot
bulletยาแก้ขัดเบา
bulletยาแก้ไข้
bulletยาแก้ไข้ทับระดู
bulletยาแก้ไข้ท้องร่วง
bulletยาแก้ไข้ระงับพิษ
bulletยาแก้ไข้หวัด
bulletยาแก้ไข้หวัดใหญ่
bulletยาแก้ไข้หืด หัด สุกใส
bulletยาแก้ความจำเสื่อม
bulletยาแก้ความดันโลหิตสูง
bulletยาแก้งูสวัด
bulletยาแก้เด็กเป็นซาง
bulletยาแก้ตกเลือด
bulletยาแก้ตับทรุด
bulletยาแก้ตาแดง ตาเจ็บ
bulletยาแก้ตานขโมย
bulletยาแก้ต่อมทอนซิลอักเสบ
bulletยาแก้ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ
bulletยาแก้ท้องเดิน ท้องเสีย
bulletยาแก้ท้องร่วง
bulletยาแก้ท้องอืด
bulletยาแก้นิ่ว
bulletยาแก้บิด มูกเลือด
bulletยาแก้ปวดฟัน
bulletยาแก้ปัญหาทางเพศ
bulletยาแก้ปวดเมื่อย
bulletยาแก้ปวดหลัง
bulletยาแก้ปวดหู
bulletยาแก้พิษบาดทะยัก
bulletยาแก้ มดลูกอักเสบ
bulletยาแก้ระดูไม่มาตามกำหนด
bulletยาแก้ร้อนในกระหายนำ
bulletยาแก้โรคกระเพาะ
bulletยาแก้โรคกระษัย
bulletยาแก้โรคดีซ่าน
bulletยาแก้โรคตับ
bulletยาแก้โรคเบาหวาน
bulletยาแก้โรคมะเร็ง
bulletยาแก้โรคริดสีดวงจมูก
bulletยาแก้โรคริดสีดวงทวาร
bulletยาแก้โรคลมต่างๆ
bulletยาแก้โรคหนองใน
bulletยาแก้เหน็บชาและอัมพาต
bulletยาแก้อาการผิดสำแดง
bulletยาแก้ไอ
bulletยาขับปัสสาวะ
bulletยาขับและฆ่าพยาธิ
bulletยาชะลอความชรา
bulletยาดองเหล้า
bulletยาทารักษาบาดแผลสด
bulletยาทำให้ผิวพรรณสวยงาม
bulletยาบำรุงกระดูก
bulletยาบำรุงกำลัง
bulletยาบำรุงไต แก้กามตายด้าน
bulletยาบำรุงธาตุ เจริญอาหาร
bulletยาบำรุงร่างกาย
bulletยาบำรุงโลหิต
bulletยารักษาธาตุ
bulletยาลดไขมัน
bulletยาสตรีที่ประจำเดือนผิดปกติ
bulletยาสตรีปวดประจำเดือนมาก
bulletยาสตรีวัยทอง
bulletยาเสาธงเหล็ก
bulletยาหม่องนำ ดมแก้หวัด
dot
ยาอายุวัฒนะ
dot
bulletชุดที่ 1 จำนวน 12 ขนาน
bulletชุดที่ 2 จำนวน 27 ขนาน
dot
ยอดยาสมุนไพร ขนานเอก ยุค จิ๋นซีฮ่องเต้
dot
bulletสูตรไข่ดิบดองน้ำส้มสายชูหมัก
dot
ยอดตำรายาสมุนไพรไทย
dot
bulletตำรายาเหงือกปลาหมอ
bulletตำรายาหัวกวาวเครือ
dot
สมุนไพรที่น่ารู้จัก
dot
bulletเรื่องที ๑ สารสกัดจากเมล็ดองุ่น
bulletเรื่องที่ ๒ สมุนไพร โสม
bulletเรื่องที่ ๓ เห็ดหลินจือกับแพทย์แผนปัจจุบัน
bulletเรื่องที่ ๔ สารสกัดจากเปลือกต้นสนมาริไทม์
dot
สาระน่ารู้ เคล็ดลับร้อยแปด
dot
bulletข่าวจากหนังสือพิมพ
bulletอาหารที่ทำให้อายุสั้น 10 อย่าง
bulletนมกับผลร้ายเมื่อดื่ม
bulletผลร้ายของการดื่มนม – ความลับด้านหลังดวงจันทร์
bulletประสบการณ์และข้อคิด อีกมุมหนึ่งของการดื่มนม
bulletอ่านสุขภาพจากการตรวจด้วยเทคโนโลยียุคใหม่
bulletเหตุที่คนญี่ปุ่นไม่ดื่มชาเขียวแช่เย็น
bulletเผยเคล็ดลับคนดังลดน้ำหนักอย่างได้ผล
dot
Updateข่าวสมุนไพร
dot
bulletข่าวจากหนังสือพิมพ์
dot
Newsletter

dot




ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ

 

 ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ
               อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และปวดตามข้อ เกิดจากความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อตามบริเวณลำตัว เนื่องจากมีการทำงานหนัก หรือถูกกระทบกระแทก
 
                                                      การดูแลรักษาด้วยตนเอง      
·      พักผ่อนให้เพียงพอ เมื่อทำงานหนักเสร็จแล้ว
·      ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรง
·    ใช้การประคบร้อนและเย็น เพื่อคลายกล้ามเนื้อ และลดบวม โดยประคบเย็นภายใน 24 ชั่วโมงแรกที่เกิดอาการ จากนั้นจะใช้ประคบร้อนหรือเย็นก็ได้ แต่ความร้อนจะทำให้รู้สึกสบายกว่า
·      นวดด้วยยา หรือประคบสมุนไพร เพื่อช่วยคลายกล้ามเนื้อ
 
สมุนไพรประจำบ้าน
·      ไพล Zingiber purpureum Rosc.
แก้เคล็ด ขัดยอก ช้ำบวม
                                         :   ใช้เหง้าสด ล้างให้สะอาดหั่นเป็นชิ้นบางๆ ต้มกับน้ำมันพืช โดยใช้ไฟอ่อนๆ ในอัตราส่วน 2:1 ต้มจนน้ำมันที่ได้เป็นสีเหลืองใส กรองเอาเฉพาะน้ำมันอาจผสมการบูรเล็กน้อยเพื่อประคบบริเวณที่มีอาการเช้า-เย็น หรือเวลาปวดจนกว่าจะหาย
·      พริก capsicum frutescens Linn.
แก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ   
                         :   ถ้าให้ดีควรใช้ผล และรกพริกกระเหรี่ยงต้มกับน้ำชะล้าง หรือผสมทาบริเวณที่เป็น
 
ยาจากสมุนไพรสำเร็จรูป
·      ครีมไพล
-       ปัจจุบันสถาบันวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม ได้พัฒนามาตรฐานการผลิตเป็นตัวยาในรูปของครีม 14% ด้วยขั้นตอนการผลิตที่ทันสมัย โดยนำเอาหลักเกณฑ์ และวิธีการผลิตที่ดี (GMP) เข้ามาใช้เพื่อให้ครีมได้คุณภาพที่ดี อีกทั้งกระทรวงสาธารณสุขยังได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาผลิตยาจากสมุนไพร โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติได้ประกาศให้สมุนไพรอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2542 แล้วเพื่อใช้ในการบรรเทาอาการเคล็ด ขัดยอก ฟกช้ำ
-       การศึกษาทางคลินิก ศศิธร วสุวัต และคณะ ร่วมกับ น.พ.กรุงไกร เจนพาณิชย์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ใช้ครีมไพล 14%  ในการทดลองกับผู้ป่วย 150 ราย ที่มีอาการเคล็ดปวดบวมกล้ามเนื้อหัวเข่าและข้อแพลง หลังการใช้ได้มีผู้แจ้งผลในการใช้ยาครีมไพลว่าเป็นที่พอใจ น.พ.วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม และคณะ ได้ทดลองทางคลินิกใช้ครีมไพลกับนักกีฬาที่บาดเจ็บข้อเท้าแพลง 21 ราย เทียบยาครีมไพล 14% และยาหลอกพบว่า นักกีฬากลุ่มที่ได้รับยาครีมไพล มีอาการบวมลดลงกว่ายาหลอกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนความเป็นพิษพบว่า ไม่มีพิษเฉียบพลัน และไม่ผลระคายเคืองต่อผิวหนัง
-          ใช้ทาถูเบาๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2-3 ครั้ง
·      เจลไพล
-          มีการพัฒนานำน้ำมันไพลมาทำเป็นเจล 10% ออกจำหน่ายและกำลังมีการศึกษาเพิ่มเติม ถึงสรรพคุณการออกฤทธิ์
·      เจลพริก
-          ใช้บรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ หลังไหล่และต้นคอ ใช้ทาบางๆ บริเวณที่ปวด วันละ 3-4 ครั้ง
-          คณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้เจลพริก เป็นยาที่ใช้ได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์
-       จากการทดลองทางคลินิก พบว่า 50% ของผู้ใช้เจลพริกเป็นประจำ นาน 4-5 เดือนจะไม่รู้สึกปวดอีกต่อไปและ 80% ของผู้ใช้ สามารถบรรเทาอาการปวดได้ดี

นอกจากนี้ ยังมีในรูปแบบของปลาสเตอร์ปิดแก้ปวดด้วย







Copyright © 2010 All Rights Reserved.

เอ็กซ์ฟากรุ๊ป
โทร. 02-5384438 085-6898413 Fax. 02-5304938